Page 18 - คู่มือเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียชนิดบึงป
P. 18
#
ชั้นกรองที่ใช#ในบFอบึงประดิษฐM มักใชหินหรือกรวดหยาบ หินเกล็ด และ
ทรายหยาบ (เรียงลำดับจากลFางขึ้นบน คือ หินหยาบ หินเกล็ด และทรายหยาบ
ตามลำดับ) โดยแตFละชั้นควรมีความหนาของชั้นกรองประมาณ 15-20
เซนติเมตร (รูปที่ 5) หรืออาจเลือกใช#หินภูเขาไฟซึ่งมีน้ำหนักเบาแทนหินหยาบ
หรือหินเกล็ดก็ได# ซึ่งการใช#หินภูเขาไฟมีข#อด คือ ทำให#บFอไมFต#องรับน้ำหนักมาก
ี
ี่
ี่
อีกทั้งหินภูเขาไฟมีความพรุนสูง จึงเป7นตัวกลางทมีพื้นทผิวมากและมีความ
เหมาะสมตFอการยึดเกาะของจุลินทรียM อีกทั้งยังมีแรFธาตุที่เป7นประโยชนMตFอการ
เจริญเติบโตของพืชที่ปลูกในระบบด#วย สำหรับข#อเสียของการเลือกใช#หินภูเขา
ไฟ คือ ทำให#มีคFาใช#จFายเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีราคาแพงกวFาหินหยาบและหินเกล็ด
M
ตารางที่ 2 เกณฑMการออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียชนิดบึงประดิษฐ
รายการ เกณฑ)การออกแบบ หน/วย
บีโอด ี ไม)เกิน 100 มิลลิกรัมต)อลิตร
ของแข็งแขวนลอย ไม)เกิน 200 มิลลิกรัมต)อลิตร
อัตราการเกิดน้ำเสีย (ค)าเฉลี่ย) ไม)เกิน 100 ลิตรต)อคนต)อวัน
เวลากักพัก 5-10 วัน
ตัวกรอง ทรายหยาบ หินเกล็ด หินหยาบ -
(เรียงลำดับจากบนลงล)าง) หรืออาจเลือกใชMหินภูเขาไฟ
ขนาดเล็ก กลาง และใหญ )
ความพรุนเฉลี่ย 0.4 - 0.5 -
ความลาดเอียง 1 : 50 ถึง 1 : 100 -
อัตราส)วนความกวMาง ไม)นMอยกว)า 1 : 3 -
ต)อความยาว
ที่มา: ปรับปรุงจาก Polprasert, 2007
15