Page 33 - คู่มือเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียชนิดบึงป
P. 33

8. ชั้นกรองหรือตัวกลาง และพืชในระบบ
                                                                     M
                 ชั้นกรอง หรือตัวกลาง ในระบบบำบัดน้ำเสียชนิดบึงประดิษฐ มีหน#าท ี่
                                                                          7
          พยุงต#นพืชที่ปลูกในระบบให#ตั้งตรง และเป7นพื้นที่ให#จุลินทรียMยึดเกาะกันเปน
                                                                           ั
          แผFนฟ˜ลMมชีวภาพสำหรับยFอยสลายสารอินทรียMในน้ำเสีย เมื่อมีการใช#งานไปสก
          ระยะหนึ่งแผFนฟ˜ลMมชีวภาพเหลFานี้จะหลุดรFอนออกมาพร#อมกันน้ำทิ้งที่ไหลออก

          จากระบบ และไปตกตะกอนในบFอพักน้ำทิ้ง ขณะเดียวกันจะมีฟ˜ลMมชีวภาพ
          จุลินทรียMอื่นเจริญเติบโตขึ้นมาใหมFทดแทนที่หลุดรFอนออกไป ทำให#ไมFสFงผลตอ
                                                                           F
          ประสิทธิภาพการบำบัดสารอินทรียMและธาตุอาหารอื่นๆ ในระหวFางการใช#งานไม F

                                                                          7
          จำเป7นที่จะต#องนำขึ้นมาทำความสะอาดแตFอยFางใด เว#นแตFมีการใช#งานเปน
          ระยะเวลายาวนานหลายๆ ปX แล#วมีการสะสมตัวของตะกอนในปริมาณมาก

          จึงอาจพิจารณาขุดชั้นกรองหรือตัวกลางออกมาล#างทำความสะอาด แล#วจึงบรรจุ
                       F
                                                                           ื
          กลับเข#าไปใหม พืชที่นิยมปลูกในระบบบำบัดน้ำเสียแบบบึงประดิษฐ มักเป7นพช
                                                                  M
                                                                           ็
          ที่มีศักยภาพในการดูดซับสารปนเปŠ‹อนในน้ำเสียสูง มีอัตราการเจริญเติบโตเรว
          ผู#ใช#งานหรือเจ#าของระบบไมFควรปลFอยให#พืชโตจนกระทั่งคลุมเต็มพื้นที่หน#าตด
                                                                           ั
                         M
          ของบึงประดิษฐ ควรมีการตัดแตFงตามความเหมาะสมเพื่อให#พืชมีการ
          เจริญเติบโตขึ้นใหมFอยFางตFอเนื่อง คงสภาพการดูดซับสารอินทรียMในอัตราเดม
                                                                           ิ
          เนื่องจากพืชที่มีอายุขัยมากหรือแกFเกินไปมักมีอัตราการดูดซับสารอินทรียMลดลง













                                             30
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38