Page 8 - คู่มือเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียชนิดบึงป
P. 8
M
ระบบบำบัดน้ำเสียบึงประดิษฐแบบน้ำไหลใต#ผิวดินในแนวนอน (รูปท ี่
ี
้
่
ื
M
F
#
#
ึ
ิ
1) มีหลักการทำงาน คือ เมอนำเสยไหลเขามาในบงประดษฐสวนตน สารอินทรีย M
สFวนหนึ่งจะตกตะกอนจมตัวลงสูFก#นบึงและถูกยFอยสลายโดยจุลินทรียM สFวน
สารอินทรียMที่ละลายน้ำจะถูกกำจัดโดยจุลินทรียMที่เกาะติดอยูFกับพืชน้ำหรือชน
ั้
กรองที่เป7นหินหรือทรายและจุลินทรียMที่แขวนลอยในน้ำ ระบบนี้จะได#รบ
ั
ออกซิเจนจากการแทรกซึมของอากาศผFานผิวน้ำหรือชั้นหินลงมา ออกซิเจน
บางสFวนจะได#จากการซึมผFานทางรากพืช (แตFมีปริมาณไมFมากนัก) สำหรับสาร
ู
ู
ั
F
ิ
#
แขวนลอยจะถกกรองและจมตวอยFในชวงตนๆ ของระบบ ปรมาณไนโตรเจนจาก
น้ำเสียจะลดลงจากปฏิกิริยาการยFอยสลาย (ไนตริฟเคชัน และดีไนตริฟเคชน)
ั
โดยจุลินทรียภายในระบบ สFวนปริมาณฟอสฟอรัสสFวนใหญFจะถูกดูดซับที่ชน
ั้
M
กรองบริเวณพื้นบFอ รวมถึงพืชที่ปลูกในระบบจะชFวยดูดซับฟอสฟอรัสผFานทาง
M
รากและนำไปใช#ในการสร#างเซลลเพื่อการเจริญเติบโตของพืชนั้นๆ
3. สGวนประกอบสำคัญในระบบบำบัดน้ำเสียชนิดบึงประดิษฐE
O
3.1 พืชที่ปลูกในบึงประดิษฐ
M
้
พืชทใชปลูกในระบบบำบัดน้ำเสียชนิดบึงประดิษฐเป7นพืชโผลFเหนือนำ
#
ี่
(Emergent plants) เชFน พุทธรักษา กก คล#าน้ำ ตาลป'ตรษี เตยหอมหรือเตย
ดFาง หญ#าแฝก เบิรMดออฟพาราไดซ บัวอเมซอน เป7นต#น พืชเหลFานจะมีหน#าท ี่
ี้
M
สนับสนุนให#เกิดการถFายเทกาซออกซิเจนจากอากาศเพื่อเพิ่มออกซิเจนให#แก F
น้ำเสีย และยังทำหน#าที่สนับสนุนให#มีการแลกเปลี่ยนกาซในระบบ นอกจากนี้ยัง
ุ
ู
#
สามารถชFวยกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสไดโดยพืชจะนำธาตไนโตรเจนในรป
ื
ของไนเตรทและฟอสฟอรัสในรูปของฟอสเฟตไปใช#เพ่อการเจริญเติบโต พืชที่ปลก
ู
ี้
M
เหลFานนอกจากจะใช#ประโยชนเพื่อการตกแตFงให#เกิดความสวยงามแล#ว จะต#อง
เป7นพืชที่มีความทนทาน สามารถเจริญเติบโตได#ดีในน้ำเสียที่มีปริมาณ
5